สรุปผลการเข้าฟังการอบรมงานวิจัย ห้อง 2307


26/12/60

1.ปัจจัยและเหตุผลการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย

ผู้ทำวิจัย  ณัฐ เหลืองคำชาติ

สรุป  ปัจจัยและเหตุผลการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย : (ณัฐ เหลืองชาติ)

มูลค่าของอสังหาริมทรัพย์ 300,000,000
-ปัญหาของอสังหาริมทรัพย์ในไทย
แข็งขันกับผู้ประกอบการรายใหญ่ได้ยาก ทำให้ราย่อยแข็งขันลำบาก
-ขั้นตอนการวิจัย
1.)ทบทวนวรรณกรรม
2.)ร่างแบบสอบถาม
3.)แนวทางคุณภาพ
4.)หาข้อมูลจากการสัมภาษณ์
5.)ทดสอบความเที่ยงตรง
6.)ค่าความเชื่อมั่นของข้อมูล
7.)การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
8.)ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
สรุป ผลการวิจัย
            การจัดการอสังหาริมทรัพย์มีความสำคัญต่อการบริหารองค์การ
โดยปัจจัยที่สำคัญ
-การสำรวจโอกาส
-สร้างแนวคิด
-การยอมรับ
-พฤติกรรมประยุกต์
2.ปัจจัยองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของกลุ่มคลัสเตอร์อุตสาหกรรม กรอบแนวคิด
ผู้ทำวิจัย  อัจฉรา หลาวทอง
สรุป  วัตถุประสงค์ ต้องการศึกษาความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ความไว้วางใจทฤษฎี
-           ความร่วมมือ
-           กลุ่มบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในธุรกิจ
-           ของคลัสเตอร์
รูปแบบโครงสร้างและความสัมพันธ์
1)         องค์การธุรกิจอุตสาหกรรมซัพพลายเออร์
2)         องค์การธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต
3)         องค์การธุรกิจอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง
4)         สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
5)         การสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน
ประเภทของกลุ่มคลัสเตอร์อุตสาหกรรม
1.         ความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์
2.         เครือข่ายทางสังคม
3.         วัฒนธรรม
สรุปผลการศึกษา
ความสัมพันธ์และอิทธิพลของตัวแปรที่ส่งผลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ความสัมพันธ์ช่วยเรื่องทางธุรกิจ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ ความไว้วางใจ การเรียนรู้ขององค์กร
3.ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความผูกพันในงานของผู้ปฏิบัติงานขับเคลื่อนยานยนต์สาธารณะ จังหวัดขอนแก่น
ผู้รับผิดชอบ  กฤษกร เต็งเจริญกุล
สรุป  ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การเเละความผูกพันธ์ในงานระเบียบวิธีวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง221 คนเครื่องมือที่ใช้เเบบสอบถาม4ส่วนผลการวิวัยผู้ตอบเเบบสอบถามเป็นชายทั้งหมดมีสถานภาพสมรถคิดเป็นร้อยละ47 ชายอายุ30-39ปี ร้อยละ64 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การเเละความผูกพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานขับเคลื่อนยานยนต์สาธารณะจังหวัดขอนเเก่นโดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับ0.01

1. การออกแบบการทดลองการแพ็กคาร์เบอไรซิงที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุดคมตัดแม่พิมพ์ที่ขึ้นรูปจากเหล็ก AISI 1020 โดยใช้เปลือกไข่ไก่เป็นเร่ง

          โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้

          - ที่มาและความสำคัญ
          - วัตถุประสงค์
          - อุปกรณ์ในการทดลอง
          - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
          - วิธีการทดลอง
          - สรุปผลการทดลอง
     ➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากการทดลองในครั้งนี้ได้ทราบถึงความเข้มแข็งของชุดคมตัดแม่พิมพ์ที่ไม่สามารถทำให้คมได้ตามที่ต้องการ สาเหตุมาจากการบิดของเหล็กทำให้สูญเสียแรงในขณะทำการขึ้นรูป

                                                                                    ผู้เขียนงานวิจัย : พงษ์ศักดิ์ รุนกระโทก






4. อิทธิพลของการผสมพอลิเอไมดุ์และไซเลนกับการอบไอน้ำ ที่ส่งผลคุณสมบัติเชิงกล
          โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
          - ที่มาในการศึกษา
          - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
          - วิธีดำเนินงานวิจัย
          - ผลการทดลอง
     ➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากการทดลองผลปรากฎว่าค่า SSC จะต้องมีค่าสูงเท่านั้น การทำงานถึงจะมีประสิทธิภาพ และเมื่อใดที่ค่า KP1 ลดต่ำลง ก็จะส่งผลกระทบต่อการทำงาน โดยค่าเฉลี่ยคุณสมบัติเชิงกลอยู่ที่ 34.5 %

                                                                                   ผู้เขียนงานวิจัย : จักรายุทธ มากทอง



5. การศึกษาความเหมาะสมเตาแก๊สหุงต้มที่ใช้แก๊สชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
          โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
          - ที่มา
          - ปัญหาในการศึกษา
          - ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
          - วัตถุประสงค์ของการศึกษา
          - อุปกรณ์การทดลอง
          - วิธีการทดลอง
          - ผลการทดลอง
     ➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ (1) ลักษณะเตามีอิทธิพลต่อการกระจายอุณภูมิ (2) อุณหภูมิก้นภาชนะสูงสุด 616 องศาเซลเซียล ที่ตำแหน่งจากจุดกึ่งกลางก้นภาชนะ 30 มิลลิเมตร (3) ได้ทราบช่วงของอัตราการป้อนแก๊สที่เหมาะสมก็ได้จากเชื้อเพลิงชีวมวลก๊าซที่มีค่าความร้อนต่ำให้กับหัวเตาแก๊สแรงดันสูงแบบ KB-5 ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับหัวเตาแก๊สชนิดอื่นๆ เพื่อให้ความร้อนหรือการใช้หุงต้มในครัวเรือน



                                                                              ผู้เขียนงานวิจัย : ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา




6. ระบบการจัดการสัมมนาทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
          โดยมีหัวข้อในการนำเสนอ ดังนี้
          - ที่มาและความสำคัญ
          - วัตถุประสงค์
          - วิธีดำเนินการวิจัย
          - ผลที่ได้จากการวิจัย
          - สรุปผลการวิจัย
     ➤ จากหัวข้อวิจัยนี้สามารถสรุปผลการทดลองได้ดังนี้ จากผลการประเมินของผู้ใช้ระบบมีความพึงพอใจต่อการระบบการจัดการสัมมนาวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พบว่าโดยรวมทั้งหมดอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามค่าเฉลี่ยคือ (1) ด้านการนำไปใช้จริง (2) ด้านขอบเขตของข้อมูล (3) ประสิทธิภาพของระบบ (4)ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบระบบ ดังนั้นผลการประเมินความพึงพอใจด้านการนำไปใช้จริงมีระดับความพึงพอใจอยู่ในลำดับที่ 1 จึงเห็นได้ว่าระบบมีเหมาะสมกับการนำไปใช้งานสำหรับการจัดงานสัมมนาวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                                                                               ผู้เขียนงานวิจัย : ทินกร ชุณหภัทรกุล

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

สรุปบทที่ 7 แบบฝึกหัดเเละกรณีศึกษา

สรุปบทที่ 8 เเบบฝึกหัดเเละกรณีศึกษา

เเบบฝึกหัดบทที่ 4 เเละกรณีศึกษา