บทความ

้สรุปการศึกษาดูงาน

รูปภาพ
https://goo.gl/images/eMkWC6 บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2499 ต่อมาในปี พ.ศ. 2501 บริษัทฯ ได้ทำการก่อสร้างโรงงานปูนซีเมนต์แห่งแรกขึ้นที่ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางเหนือประมาณ 185 กิโลเมตร ในระยะแรกโรงงานมีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์วันละ 360 ตัน และต่อมาได้มีการปรับปรุงเป็นระยะๆ จนกระทั่งปัจจุบันนี้โรงงานตาคลีมีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์ 2,700 ตันต่อวัน            เมื่อความต้องการปูนซีเมนต์ในประเทศมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จำกัด จึงได้สร้างโรงงานปูนซีเมนต์แห่งที่สองขึ้นที่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร การก่อสร้างโรงงานชะอำเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2512 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2514 และ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดโรงงาน เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 ในระยะแรกโรงงานชะอำมีกำลังการผลิตปูนซีเมนต์ได้วันละ 1,560 ตัน ต่อมาได้มีการปรับปรุงเพื่อขยายกำลัง

สรุปบทที่ 8 เเบบฝึกหัดเเละกรณีศึกษา

รูปภาพ
https://goo.gl/images/DNpEUT บทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ แนวคิดกลยุทธ์ทางการแข่งขัน เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริการ และความสามารถที่ทำให้เกิดความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์แก่บริษัทท่ามกลางแรงกดดันทางการแข่งขันที่กำลังเผชิญหน้าอยู่ทุกวันในตลาดการค้าโลก เป็นระบบที่ช่วยเหลือหรือกำหนดตำแหน่งการแข่งขันในตลาดและกำหนดกลยุทธ์ของกิจการ การสร้างกลยุทธ์การแข่งขันพื้นฐาน 5 อย่าง 1. กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านราคา 2.กลยุทธ์ความแตกต่าง 3.กลยุทธ์นวัตกรรม 4.กลยุทธ์ความเจริญเติบโต 5.กลยุทธ์สร้างพันธมิตร บทบาททางกลยุทธ์สำหรับระบบสารสนเทศ - การปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ บทบาทที่ก่อให้เกิดการพัฒนาที่สำคัญในขั้นตอนต่างๆ ในการดำเนินธุรกิจของบริษัท การลงทุนในเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้ขั้นตอนในการปฏิบัติงานภายในมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถทำให้บริษัทลดต้นทุน ปรับปรุงคุณภาพและการให้บริการแก่ลูกค้าและสามารถพัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์สำหรับการเปิดตลาดใหม่อีกด้วย - การส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ สามารถให้ผลดีในการพัฒนาสินค้าและบริการห

สรุปบทที่ 7 แบบฝึกหัดเเละกรณีศึกษา

รูปภาพ
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร https://goo.gl/images/p8hpeB การจัดการกับการตัดสินใจ                  การจัดการ ( Management)  หมายถึง การบริหารอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยกิจกรรมของกลุ่มบุคคลที่ร่วมมือกันดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยใช้กระบวนการ และทรัพยากรอย่างเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด                 กระบวนการจัดการประกอบด้วย การวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการหรืออำนวยการ และการควบคุม ผู้บริหารต้องรู้จักเลือกและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ และเป็นประโยชน์ต่อการบริหารและการตัดสินใจ ระดับของการจัดการ        การจัดการระดับสูง  ( Upper-level Management)  ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้ที่กำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ วางแผนกลยุทธ์ และแผนระยะยาวขององค์การ มีความต้องการสารสนเทศที่มีขอบเขตกว้างขวาง และสารสนเทศเกี่ยวกบแนวโน้มต่าง ๆ จากทั้งภายในและภายนอกองค์การ        การจัดการระดับกลาง  ( Middle-level Management)  ผู้บริหารระดับกลางมีหน้าที่วางแผนยุทธวิธี และประสานงานระหว่างผู้บริหารระ

สรุปบทที่ 6 เเบบฝึกหัดเเละกรณีศึกษา

รูปภาพ
บทที่ 6  ระบบสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติงานทางธุรกิจ https://goo.gl/images/SzaGur ระบบสารสนเทศสำหรับการปฎิบัติงานทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ  เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานของธุรกิจให้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยถูกออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ ตลอดจนช่วยส่งเสริมให้ทั้งองค์การสามารถประสานงานและใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในระดับปฏิบัติงานและระดับบริหาร โดยสามารถจำแนกระบบสารสนเทศตามหน้าที่ทางธุรกิจ ตามหน้าที่ดังต่อไปนี้     1. ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี ( Accounting Information System)         หรือเรียกว่า  AIS  จะเป็นระบบที่รวบรวม จัดระบบ และนำเสนอสารสนเทศทางการบัญชีที่ช่วยในการตัดสินใจแก่ผู้ใช้สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยระบบสารสนเทศทางบัญชีจะให้ความสำคัญกับสารสนเทศที่สามารถวัดค่าได้ หรือการประมวลผลเชิงปริมาณมากว่าการแก้ปัญหาเชิงคุณภาพ ระบบสารสนเทศทางด้านการบัญชีจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ    1.1ระบบบัญชีทางการเงิน ( Financial Accounting System) จะเป็นการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในรูปตัวเงิน จัด

สรุปบทที่ 5 อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต แบบฝึกหัดและกรณีศึกษา

รูปภาพ
11/2/61 สรุปบทที่ 5 อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต เเละความร่วมมือระหว่างองค์กร อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ตและอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายภายในองค์กรที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมให้เหมือนอินเทอร์เน็ตภายในองค์กร เพื่อการแบ่งปันสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร ความร่วมมือ และการสนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ อินทราเน็ตได้รับการป้องกันด้วยมาตรฐานความปลอดภัย เฉพาะสมาชิกเท่านั้น            การประยุกต์ใช้อินทราเน็ต บริษัทต่างๆใช้เทคโนโลยีอินทราเน็ตเพื่อการสืบค้นข้อมูล เป็นเครื่องมือความร่วมมือ เก็บประวัติส่วนตัวของลูกค้า เชื่อต่อไปยังอินเทอร์เน็ต และคิดว่าการลงทุนในอินทราเน็ตเป็นเรื่องพื้นฐานเหมือนการติดตั้งโทรศัพท์ให้แกพนักงาน การสื่อสารและความร่วมมือ อินทราเน็ตสามารถปรับปรุงและมีความร่วมมือภายในองค์กร งานสิ่งพิมพ์บนเว็บ มีความง่าย ความสวยงามน่าสนใจ ต้นทุนที่ต่ำของการจัดพิมพ์และการเข้าถึงสารสนเทศธุรกิจสื่อประสมภายในผ่านเว็บไซท์อินอินทราเน็ตการดำเนินธุรกิจและการจัดการ อินทราเน็ตถูกใช้เป็นฐานงานสำหรับการพัฒนาและนำมาใช้กับโปรแกรมประยุกต์ธุรกิจ เพื่อสนับสนุนการดำเนิ

เเบบฝึกหัดบทที่ 4 เเละกรณีศึกษา

3/2/61 เเบบฝึกหัดบทที่ 4 1.) ทำอย่างไร  ที่องค์กรธุรกิจสามารถที่จะใช้เครือข่ายระหว่างองค์กร  ในการจัดเก็บ เข้าถึงและแจกจ่ายข้อมูล และสารสนเทศ ไปยังหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกได้      ตอบ   เพื่อปรับปรุงการโฆษณาการตลาดให้ประสบความสำเร็จโดยการรวบรวมข้อมูลภายในและภายนอกของลูกค้าและข้อมูลการตลาดในการคลังข้อมูล 2.) อะไรคือบทบาทของการจัดการฐานข้อมูล และการวางแผนที่จะใช้ข้อมูลมาเป็นส่วนสำคัญในการธุรกิจ      ตอบ   - การปรับปรุงและบำรุงรักษาฐานข้อมูล เป็นผลมาจากรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดใหม่และเหตุการณ์อื่นๆ         -การเตรียมสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับใช้งาน โดยการแบ่งปันข้อมูล(Sharing of Data) ในฐานข้อมูลเดียวกัน        -การเตรียมความสามารถในการโต้ตอบ ค้นหา และจัดทำรายงาน โดยโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลสำเร็จรูป 3.)อะไรคือประโยชน์ของแนวคิดในการรวบรวมฐานข้อมูล การเข้าถึง และการจัดการทรัพยากรข้อมูล จงยกตัวอย่างประกอบ       ตอบ  การวางแผนข้อมูล เป็นการวิเคราะห์หน้าที่ที่เน้น ในเรื่องการจัดการทรัพยากรข้อมูล รวมทั้งการพัฒนาสถาปัตยกรรมข้อมูลโดยรวมสำหรับทรัพยากรข้อมูลขององค์กร 4.)อะไรคื